siam fishing

สยามฟิชชิ่ง - ชุมชนนักตกปลา

วันอาทิตย์ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2558

ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน มีนาคม 2558

ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน มีนาคม  2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน มีนาคม  2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน มีนาคม  2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน มีนาคม  2558







ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน มีนาคม  2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน มีนาคม  2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน มีนาคม  2558

วันอังคารที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2558

ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน กุมภาพันธ์ 2558

ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน กุมภาพันธ์ 2558

ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน กุมภาพันธ์ 2558

ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน กุมภาพันธ์ 2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน กุมภาพันธ์ 2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน กุมภาพันธ์ 2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน กุมภาพันธ์ 2558
บางครั้งการที่จะไปเที่ยวทะเล ออกหาปลาทะเลไม่ค่อยมีคนคำนึงถึงน้ำขึ้นน้ำลงกันเท่าไหร่ เพราะอะไรอันนี้หนูดีคิดว่าคนมองข้ามไปมากกว่าการที่จะไปท่องเที่ยวหรือไม่ได้ท่องเที่ยวจังหวัดชลบุรีอยุ่ติดกับชายฝั่งทะเลต้องรู้ข่าวสารไว้บ้างก็ดีค่ะ ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2558



การที่รับรู้ข่าวสารต่างๆหรือใส่ใจเผื่อว่าเกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดฝันเพื่อให้เกิดการสูญเสียตามมาทีหลัง หนูดีอยากจะช่วยให้เพื่อนๆที่ยังไม่ได้เข้าใจตรงจุดนี้ให้เข้าใจกันมากขึ้นๆไป ส่วนเพื่อนคนไหนทราบหนูดีดีใจว่ายังมีเพื่อนรับรู้ข่าวสารของจังหวัดเราค่ะ มาอัพข่าวตารางน้ำขึ้นน้ำลง ใน ชลบุรีกันดีกว่า ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2558

ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน กุมภาพันธ์ 2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน กุมภาพันธ์ 2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน กุมภาพันธ์ 2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน กุมภาพันธ์ 2558



วันอังคารที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2558

ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง เดือน มกราคม 2558

ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง  เดือน มกราคม 2558
บางครั้งการที่จะไปเที่ยวทะเล ออกหาปลาทะเลไม่ค่อยมีคนคำนึงถึงน้ำขึ้นน้ำลงกันเท่าไหร่ เพราะอะไรอันนี้หนูดีคิดว่าคนมองข้ามไปมากกว่าการที่จะไปท่องเที่ยวหรือไม่ได้ท่องเที่ยวจังหวัดชลบุรีอยุ่ติดกับชายฝั่งทะเลต้องรู้ข่าวสารไว้บ้างก็ดีค่ะ ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2558
การที่รับรู้ข่าวสารต่างๆหรือใส่ใจเผื่อว่าเกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดฝันเพื่อให้เกิดการสูญเสียตามมาทีหลัง หนูดีอยากจะช่วยให้เพื่อนๆที่ยังไม่ได้เข้าใจตรงจุดนี้ให้เข้าใจกันมากขึ้นๆไป ส่วนเพื่อนคนไหนทราบหนูดีดีใจว่ายังมีเพื่อนรับรู้ข่าวสารของจังหวัดเราค่ะ มาอัพข่าวตารางน้ำขึ้นน้ำลง ใน ชลบุรีกันดีกว่า ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2558

ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง  เดือน มกราคม 2558


ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง  เดือน มกราคม 2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง  เดือน มกราคม 2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง  เดือน มกราคม 2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง  เดือน มกราคม 2558
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2015 ตารางน้ําขึ้น น้ําลง เกาะสีชัง  เดือน มกราคม 2558
























































วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2557


ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2557
บางครั้งการที่จะไปเที่ยวทะเล ออกหาปลาทะเลไม่ค่อยมีคนคำนึงถึงน้ำขึ้นน้ำลงกันเท่าไหร่ เพราะอะไรอันนี้หนูดีคิดว่าคนมองข้ามไปมากกว่าการที่จะไปท่องเที่ยวหรือไม่ได้ท่องเที่ยวจังหวัดชลบุรีอยุ่ติดกับชายฝั่งทะเลต้องรู้ข่าวสารไว้บ้างก็ดีค่ะ ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2557 การที่รับรู้ข่าวสารต่างๆหรือใส่ใจเผื่อว่าเกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดฝันเพื่อให้เกิดการสูญเสียตามมาทีหลัง หนูดีอยากจะช่วยให้เพื่อนๆที่ยังไม่ได้เข้าใจตรงจุดนี้ให้เข้าใจกันมากขึ้นๆไป ส่วนเพื่อนคนไหนทราบหนูดีดีใจว่ายังมีเพื่อนรับรู้ข่าวสารของจังหวัดเราค่ะ มาอัพข่าวตารางน้ำขึ้นน้ำลง ใน ชลบุรีกันดีกว่า ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2557
thaishop
ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2557






ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2557
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2557
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2557
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2557
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2557
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2557
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2557
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด ตารางน้ําขึ้นน้ําลงเกาะสีชัง 2557














วันจันทร์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด

ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด


           thaishop                                                                 


คลิกที่รูปแผนที่



สามารถใช้สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต เช็คตารางน้ำได้ เราใช้ตารางน้ำสำหรับ
    -นำเรือขึ้น/ลงจากน้ำ
    -จอดเรือ/ผูกเรือแบบเทพๆ
    -ดูน้ำขึ้นลงเพื่อตกปลา
    - ฯลฯ


มาตราน้ำสำหรับนักตกปลาทะเลระดับน้ำสูงสุด - ต่ำสุด ปี 2557
มาตราน้ำสำหรับนักตกปลาทะเลระดับน้ำสูงสุด - ต่ำสุด ปี 2557
มาตราน้ำสำหรับนักตกปลาทะเลระดับน้ำสูงสุด - ต่ำสุด ปี 2557
มาตราน้ำสำหรับนักตกปลาทะเลระดับน้ำสูงสุด - ต่ำสุด ปี 2557

                                          

                                           ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) 

                                           ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) 

                                           ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) 

                                           ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) 


คลิ๊กตามสถานที่ 






























ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด
ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด



ตารางน้ำรายชั่วโมง 2014 (2557) แบบรวมทั้งหมด


ข้อมูลลึกลงไปอีกนิด : ว่าด้วย " คันเบ็ด"
 การเปรียบเทียบคุณสมบัติ คุณภาพ และลักษณะการใช้งานของคันเบ็ด จะมีสิ่งที่ต้องพิจารณาอยู่ 3 ประการคือ 
1.ความแข็ง หรือ เพาเวอร์ (Power)
2.แอคชั่น (Action)
3.เซนชิติวิตี้ (Sensitivity) 


1.ความแข็ง หรือ เพาเวอร์ (Power) คือขนาดของแรงที่มากระทำต่อคันเบ็ดให้บิดหรืองอโค้ง โดยยึดแรงปฏิกิริยาที่แบล้งค์จะดีดตัวหรือขืนเมื่อมีแรงมาดึงที่ปลายคันเบ็ด มีอยู่ 3 ระดับใหญ่ๆ คือ แข็ง (Heavy), ปานกลาง (
Medium) และอ่อน (Light) ใช้ตัวย่อว่า H,M และ L ตามลำดับ และสามารถแบ่งย่อยออกเป็น 9 ระดับตามที่บริษัทของ เฟนวิค (Fenwick) กำหนดจนเป็นที่ยอมรับมาตรฐานนี้กันทั่วโลก คือ
กลุ่มอ่อน มี 3 ระดับ คือ Ultra Light, Extra Light, Light
กลุ่มปานกลาง มี 3 ระดับ คือ Medium Light, Medium, Medium Heavy
กลุ่มแข็ง มี 3 ระดับ คือ Heavy, Extra Heavy, Ultra Heavy 

       คันที่มีพาวเวอร์สูงๆ ก็เหมาะที่จะใช้กับสายที่มีความทนแรงดึงสูงๆ แต่ก้ไม่เหมาะกับสายที่มีแรงยืดตัวต่ำๆ(ในกรณีนี้แก้ด้วยการใช้ช็อค ลีดเดอร์)
       ส่วนคันที่มีพาวเวอร์ไม่มาก ก็เหมาะกับสายที่มีความทนแรงดึงน้อยๆ เพราะคันจะเป็นตัวซับแรงกระชากได้ดี


2.แอคชั่น (Action) คือรูปแบบการโค้งตัวของคันเบ็ด แบ่งออกได้ 4 รูปแบบ คือ
Action A หรือ Extra fast เป็นแอ็คชั่นที่แข้งมาก คือเมื่อทดลองโน้มคันเบ็ดดูจะเห็นว่าปลายคันโค้งลงมาได้เพียง 1/4 หรือ 25% ของความยาวทั้งหมด
Action B หรือ Fast เป็นแอ็คชั่นแข้งพอประมาณคันเบ็ดจะโค้งลงมาประมาณ 1/3 หรือ 33% ของความยาวทั้งหมด
Action C หรือ Moderate เป็นแอ็คชั่นปานกลาง คันเบ็ดจะโค้งลงมา 1/2 หรือ 50% ของความยาวทั้งหมด
Action D หรือ Slow เป็นแอ็คชั่นที่อ่อนที่สุด เกือบจะเรียกได้ว่าโค้งเหมือนเครื่องหมายวงเล็บ
คันที่มีแอคชั่นแข็ง ก็เหมาะต่อการส่งเหยื่อที่มีน้ำหนักมากกว่า แต่ก็จะส่งผ่านการรับรู้แรงสั่นสะเทือนด้อยกว่าคันที่มีแอคชั่นอ่อน

3.เซนชิติวิตี้ (Sensitivity) 
คือความไวของคลื่นสัญญาณที่ส่งมาทางปลายสายมาสู่มือผู้ตก ไม่ว่าจะเป็นการเคลื่อนไหวของเหยื่อปลอม หรือ ปลาตอด เซนซิติวิตี้ของคันเบ็ดจะมีมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณภาพของวัสดุที่นำมาผลิตเป็นแบล้งค์ ตัวเส้นใย และ
โครงสร้างของเส้นใยที่นำมาทอผสานเป็นผ้า การอัดม้วนที่แน่นเสมอกันตลอดทั้งคัน การอบเนื้อให้แกร่ง เป็นต้น เหล่านี้ล้วนมีผลต่อเซนซิติวิตี้ทั้งนั้นครับ


นี้คือภาพแสดง แอคชั่น (Action)  ของคันนะครับ (ดูกันให้เห็นจะๆกันไปเลยครับ)
Action A หรือ Extra fast เป็นแอ็คชั่นที่แข้งมาก คือเมื่อทดลองโน้มคันเบ็ดดูจะเห็นว่าปลายคันโค้งลงมาได้เพียง 1/4 หรือ 25% ของความยาวทั้งหมด
Action B หรือ Fast เป็นแอ็คชั่นแข้งพอประมาณคันเบ็ดจะโค้งลงมาประมาณ 1/3 หรือ 33% ของความยาวทั้งหมด
Action C หรือ Moderate เป็นแอ็คชั่นปานกลาง คันเบ็ดจะโค้งลงมา 1/2 หรือ 50% ของความยาวทั้งหมด
Action D หรือ Slow เป็นแอ็คชั่นที่อ่อนที่สุด เกือบจะเรียกได้ว่าโค้งเหมือนเครื่องหมายวงเล็บ 

วัสดุที่นำมาทำคันเบ็ด ในปัจจุบันวัสดุที่ใช้ทำคันเบ็ดถูกคัดสรรปรุงแต่งสังเคราะห์ขึ้นมาอย่างมากมาย ซึ่งก่อให้เกิดคันเบ็ดที่มีคุณสมบัติที่ตรงต่อความต้องการของนักตกปลาและตลาด  มีดังนี้
1.ไม้ไผ่ ไม้ไผ่แม้นักตกปลาในบ้านเราจะไม่ค่อยคุ้นเคยกันนักก็ตาม แต่สำหรับนักตกปลาในต่างประเทศ คันไม้ไผ่ก็ยังถือว่าเป็นคันเบ็ดที่มีนักตกปลาบางกลุ่มที่นิยมความคลาสสิคเล่นกันอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกตกด้วยชุดฟลาย
     แต่ข้อจำกัดอย่างหนึ่งของคันไม้ไผ่ก็คือ ต้องการการดูแลอยู่พอสมควร การจัดเก็บก็ควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่รุนแรงมาก เช่น ไม่ปะทะกับแสงแดดโดยตรง ไม่ชื้นจนเกินไป แล้วต้องไม่วางพิงกับผนังไว้นานๆอย่างเด็ดขาด เพราะคันเบ็ดจะโค้งงอตามแนวที่วางพิง
2.  ไฟเบอร์ กลาส เมื่อช่วงการพัฒนาการทางเคมีภัณฑ์และความสำเร็จในการพัฒนาวัสดุสังเคราะห์เป็นไปด้วยดี ในช่วงนี้ผู้พัฒนาคันเบ็ดก็ได้รู้จักกับวัสดุใหม่ที่มีคุณสมบัติที่เสถียรกว่าวัสดุธรรมชาติ แรงดีดแรงงัดก็มีความสม่ำเสมอในทุกๆชิ้นในสายการผลิต
      ข้อดี คันไฟเบอร์ กลาส ถือเป็นคันที่มีประสิทธิภาพรอบด้านในยุคสมัยนั้น แต่เมื่อเทียบกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน คันไฟเบอร์ กลาส กลับมีข้อจำกัดตรงที่มีน้ำหนักมาก ความไวในการส่งผ่านแรงสั่นสะเทือนค่อนข้างน้อย แต่ด้วยความเหนียวทนทานของไฟเบอร์ กลาส ก็ทำให้เหมาะกับงานสำหรับตกปลาด้วยเหยื่อปลอมขนาดเล็กๆ เช่น  ปลานิล ปลาดุก บ้านเรา นิยิมใช้กันมากเนื่องจาก ราคาค่อนข้างถูก และ มีให้เลือกหลายหลายรุ่น และ ญี่ห้อ อีกทั้งยังใช้งานได้หลากหลาย  ไม่ต้องบำรุงรักษามาก
3.  กราไฟท์ ยุคต่อมาการพัฒนาการด้านเทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ดีขึ้น สามารถประสานกราไฟท์ให้ได้เป็นเส้นใย และนำมาทอเป็นผืน แล้วนำมาม้วนรอบแกนแล้วประสานด้วยกาวให้อยู่ตัว คันกราไฟท์ก็ถือกำเนิดขึ้น
       ข้อดีของวัสดุกราไฟท์คือเบา และมีแรงดีดดี และเมื่อนักประดิษฐ์ได้ลองถักทอแผ่นกราไฟท์ด้วยโครงสร้างที่ต่างกันก็เกิดคุณสมบัติของคันเบ็ดที่แตกต่างออกไป แต่ข้อจำกัดของกราไฟท์ก็คือ เป็นวัสดุที่เปราะบาง และเป็นสื่อไฟฟ้า เคยมีกรณีฟ้าผ่าลงคันเบ็ดมาแล้วหลายหน และในที่สุดก็ได้มีการผสมข้ามวัสดุกันระหว่างกราไฟท์ กับไฟเบอร์กลาส ก็ทำให้ได้วัสดุทำคันที่สนองต่อการตลาดมากขึ้น
4. คาร์บอนไฟเบอร์ และเมื่อสามารถนำธาตุกราไฟท์มาถักทอเป็นแผ่นผืนได้ หลังจากนั้นก็ได้มีการศึกษานำเอาวัตถุธาตุอื่นๆมาทอประสานกัน คาร์บอน ก็เป็นอีกหนึ่งวัตถุธาตุที่ได้รับการพัฒนามาจนเป็นคันเบ็ด เช่นเดียวกันกับวัตถุธาตุอื่นๆ เช่น โบรอน เป็นต้น
       ข้อดีของ วัตุธาตุพิเศษเหล่านี้คือ นักประดิษฐ์ได้คัดสรรนำธาตุที่มีความแกร่งและหยืดหยุ่นสูงมาประกอบ อีกทั้งยังมีความเบาเป็นพิเศษ แต่ข้อจำกัดของวัสดุใหม่ๆเหล่านี้คือ ราคาที่สูง เพราะวัสดุเหล่านี้ ยังมีการศึกษาพัฒนาคุณสมบัติอยู่เรื่อยๆ เพื่อให้ได้สิ่งที่เหมาะสมกว่า ทำให้ยังมีวางจำหน่ายให้เห็นอยู่น้อยมากในปัจจุบัน



หากจะเรียก เนื้อคันเบ็ดโดยรวมๆที่ผมเห้นได้จากในตลาดบ้านเราตอนนี้ก็มีประมาณ 3เนื้อที่เห็นได้บ่อยๆ
1. คันเนื้อไฟเบอร์ : เป็นคันที่มักมีเวท และ แอ็คชั่น ค่อนข้างจะอ่อน หรือ ย้วยๆหน่อย โคนคันจะค้อนข้างใหญ่  ราคาถูกและมีให้เลือก ทั้งแบบ คันเบท และ สปิน ด้ามก็มีให้เลือก ทั้งด้าม ก๊อก และ ด้ามยาง ซึ่งอาจเรียกได้ว่า เป็นคันพื้นฐานของผู้ฝึกหัดตกปลาช่วงแรกๆก็ว่าได้นะครับ ใช้งานได้หลากหลาย ไม่ต้องการดูแลรักษามาก ราคาถูก  ส่วนมาก ราคาเริ่มต้นที่ 200- 400 กว่าบาท
2. คันเนื้อตัน : ที่เราเคยเห็นจะเป็นคันเนื้อสีเขียวๆ ในปัจจุบัน มีการผลิตคันให้มีสีอื่นๆแล้ว ทั้ง สีใส่ , ดำ , หรือสีกากเพชร ผมก็เคยเห็นมาแล้ว โดยรวมแล้วคันประเภทนี้เป็น คันอะเนอกประสงค์อย่างแท้จริง เพราะมีแอ็คชั่น กลาง-แข็ง  ในส่วนดีที่คนมักนิยมซื้อคันตัน ก็เพราะว่า เป็นคันที่ไม่มีกระดูกคัน กล่าวคือ จะใช้กับรอกเบท หรือ สปินก็ได้ ไม่ต้องเปลี่ยนคัน และ ไม่มีผลต่อการใช้งานคัน มักใช้เป็นคันตกปลาใหญ่ ทั้งทนทาน ตากแดดได้นานไม่กรอบง่ายๆ ราคาคันประมาณ 300-500 กว่าบาท ก็หาซื้อได้แล้วครับ แต่ คันตันมีข้อเสียคือ เรื่องน้ำหนักคันที่ค่อนข้างหนัก จึงมักใช้งานประแภท ตกปลาทะเล หรือ ปลาตามแม่น้ำ ไม่เน้นการตี เพราะคันมีน้ำหนักมากกว่าคันประเทภอื่นๆ จึงอาจทำให้ตี หรือ ส่งเหยื่อได้ไม่ไกลเท่าที่ควร
3. คันเนื้อการ์ไฟ : เป็นคันที่สวย และ เพรียวที่สุด เมื่อเทียบกับคันเนื้ออื่นๆนะครับ หากใครชอบคันที่มีความสาย และ เก็บลายละเอียดดีๆ ก็มักจะเลอืกคันประเทภเนื้อการ์ไฟนี้แหล่ะครับ ส่วนเรื่องญี่ห้อนี้ก็แล้วแต่ใครจะชอบญหีห้อใด เลือกได้ตามสบายใจเลยครับ เพราะเดี่ยวนี้เท่าที่ผมเห็นมา คันViva ด้ามก๊อกเคลือบให้เส็จร แถมยังเป็นเนื้อการ์ไฟ ทำลายผ้าอีกตะหาก ราคาแค่คันละ 990 บาทเอง ที่บอกได้ละเอียดเพราะเพื่อนผมซื้อมา เอาไปอัด สวาย 15 กิโลขึ้นมาแล้ว ไม่มีสะดุ้ง ครับ หากสนใจหาซื้อได้ที่ร้านอุปกรณ์ตกปลาใกล้บ้านท่านได้เลยครับ




ตามความเข้าใจ

H = hard คันแอคชั่นแข็ง 20-40 lb ขึ้นไป ถ้าน้ำหนักเหยื่อ ก็ 190 กรัมขึ้นไป

MH = medium hard คันแอคชั่นปานกลางค่อนข้างแข็ง ส่วนมากจะพบในคันตกปลาสวาย น้ำหนักเหยื่อ 100-140 กรัม สาย 15-30 lb

M =medium คันแอคปานกลาง สาย 8-20 Ib


M-fast medium fast tip เดาเอาเอง คง แอคชั่น ปานกลาง ที่ปลายคัน งอแล้วคืนตัวเร็ว จำพวกคัน ตีเหยื่อปลอม

UL ultra Light 1-6 lb คัน ตกปลาเกร็ด แบบ อัลตร้าไลท์ งอทั้งคัน ก่อนหน้า ul จะมี L = Light tackle

U ultra อันนี้ไม่เคยเจอคับ คันฟลายมั่ง 



Model = รุ่นรหัสของคันเบ็ด Type =ประเภทคัน สปินนิ่ง เบท 
Length (ft) = ความยาวของคัน(ฟุต) Guide = ห่วงไกด์ที่ใช้ยี่ห้ออะไร
Seat = ขายึดรอก ยี่ห้ออะไร Lure wt (oz) = น้ำหนักเหยื่อที่ใช้กับคันเบ็ด (ออนซ์)
Action = ความโค้งงอของคันเบ็ด MH ปานกลางค่อนข้างแข็ง Line = เหมาะกับสายเอ็น (ปอนด์)
Price = ราคา

แอ็คชั่นของคันเบ็ด

คันเบ็ดโดยมากในตลาดมัก ระบุ Rod Power แยกได้ดังนี้
1. Ultra light ใช้กับสายเบ็ดแรงดึงประมาณ 2-8 ปอนด์ l = light อ่อน
2. Medium light ใช้กับสายเบ็ดแรงดึงประมาณ 6-12 ปอนด์ ml = medium light อ่อนปานกลาง
3. Medium ใช้กับสายเบ็ดแรงดึงประมาณ 8-14 ปอนด์ m = medium กลางๆกำลังดี
4. Medium Heavy ใช้กับสายเบ็ดแรงดึงประมาณ 8-16 ปอนด์ mh = medium heavy แข็งปานกลาง
5. Heavy ใช้กับสายเบ็ดแรงดึงประมาณ 10-20 ปอนด์ h = heavy แข็ง
6. Extra Heavy ใช้กับสายเบ็ดแรงดึงประมาณ 12-25 ปอนด์ ขึ้นไป xh = extra heavy โคตะระแข็ง

       แต่เดิมเริ่มแรกที่มนุษยชาติรู้จักการตกปลา สิ่งต่อมาที่ได้รับการพัฒนาต่อจากสายเบ็ด และตัวเบ็ดก็คือ คันเบ็ด ด้วยแนวคิดที่อยากจะส่งเหยื่อออกไปให้ห่างตัวมากขึ้นนั้นเอง และเมื่ออยากส่งเหยื่อออกไปให้ห่างมากขึ้นๆก็จึงได้คิดค้นอุปกรณ์การม้วนเก็บสายเบ็ดนั่นก็คือรอกตกปลาขึ้นมาด้วย
       คันเบ็ด ในยุคแรกเริ่มทำจากวัสดุอะไรถ้าจะว่ากันตามหลักฐานที่นักมานุษยวิทยาว่าไว้ก็ไม่มีข้อชี้ชัดแต่อย่างใด วัสดุที่ใช้สร้างคันเบ็ดในสมัยโบราณเป็นวัสดุที่มีในธรรมชาติ ซึ่งป่านนี้ก็คงผุพังเปื่อยยุ่ยไปจนไม่เห็นซาก คงได้เพียงแต่สันนิษฐานเอาว่าน่าจะเป็นไม้ไผ่ เพราะไผ่เป็นไม้ที่มีอยู่มาก คุณสมบัติพิเศษคือ เหนียว เบา และมีความยาวที่เพียงพอ แรกๆก็คงใช้ไม้ไผ่ตามที่มีอยู่ในธรรมชาติก่อน แล้วจากนั้นจึงได้พัฒนาผ่าไม้ไผ่ออกเป็นส่วนเล็กๆแล้วนำมาประกอบให้ได้คันเบ็ดที่มีคุณสมบัติที่ดีขึ้น สามารถควบคุมรูปทรงได้ง่ายขึ้น
       ต่อมา เมื่อมีการคิดค้นอุปกรณ์ม้วนเก็บสายเบ็ด สิ่งที่ถือกำเนิดต่อมาก็คือ ห่วงร้อยสายหรือว่าไกด์ แล้วเมื่ออุปกรณ์ม้วนสายเป็นรูปเป็นร่างมากขึ้น ตัวจับยึดอุปกรณ์ม้วนสายจึงถือกำเนิดขึ้นมา จนกระทั่งมนุษย์มีการเดินทางมากขึ้น เพื่อความสะะดวกในการนำคันเบ็ดไปไหนต่อไหน อุปกรณ์ช่วยลดและต่อความยาวคันเบ็ดจึงถูกประดิษฐ์ขึ้นมา และเครื่องอำนวยความสะดวกอื่นๆ เช่นห่วงคล้องเบ็ด หรือว่าร่องแฉกที่โคนคันไว้สำหรับล็อคกับเข็มขัดสู้ปลา หรือกระบอกปักคัน ก็เกิดตามๆมา

ส่วนประกอบต่างๆของคันเบ็ด
       ทีนี้ เมื่ออุปกรณ์ม้วนเก็บสายเบ็ดหรือว่ารอกได้รับการพัฒนารูปทรงไปแล้ว คันเบ็ดก็ได้รับการพัฒนาอย่างควบคู่กับรอกไปด้วยกัน จึงทำให้คันเบ็ดมีความแตกต่างอย่างมากมายในปัจจุบัน ซึ่งแยกออกชัดๆได้ดังนี้
       คันชิงหลิว คันเบ็ดแบบนี้คงสภาพของคันเบ็ดสมัยแรกเริ่มไว้เกือบครบถ้วน เพียงแต่ได้รับการพัฒนาการทางงานวัสดุเข้าไป ในปัจจุบัน คันชิงหลิวนี้ได้รับการพัฒนาไปมาก ทำให้คันเบ็ดเหล่านี้ สามารถตกปลาขนาดใหญ่ๆได้ โดยที่คันเบ็ดเรียวบางและเบามากขึ้น
       คันฟลาย รอกเก็บสายในยุคแรกๆ เป็นอุปกรณ์เก็บสายเบ็ดแบบเรียบง่าย พอได้รับการใส่ขารอกและแขนหมุนเข้าไป รอกฟลายก็ได้ถือกำเนิดขึ้น และพร้อมกันนั้น คันฟลาย อุบัติขึ้นพร้อมๆกัน
       แม้กระทั่งในปัจจุบัน คันฟลายก็ยังคงความดั้งเดิมเอาไว้ได้มาก ไกด์แบบโครงลวด ที่ยึดรอกแบบแหวนปล่าวๆที่ไม่ต้องใช้เกลียว ก็ยังพบว่าเป็นส่วนประกอบของคันฟลายในปัจจุบันอยู่หลายๆรุ่น

       คันคาสติ้ง และเมื่อรอกตกปลาได้รับการพัฒนาขึ้นไปอีก โดยมีการประดิษฐ์เฟืองทดรอบเพื่อช่วยให้การเก็บสายทำได้สะดวกขึ้น จุสายได้มากขึ้น ไกเหนี่ยวเพื่อช่วยในการยึดจับจึงเกิดขึ้น แล้วก็กลายเป็นคันคาสติ้งประเภทต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นคันสำหรับรอกเบทคาสติ้ง หรือคันสำหรับรอกสปินคาสติ้ง
       คันสปินนิ่ง ต่อมาเมื่อรอกได้ถูกประดิษฐ์ให้มีขาที่ยื่นแกนของหลอดเก็บสายให้ห่างออกมาจากแนวของคันเบ็ดแล้ว ไกเหนี่ยวที่ใช้ช่วยยึดจับจึงหมดความจำเป็นไป แต่ไกด์ต้องยึดตัวออกมารับแนวสายที่ห่างออกมาจากแนวคันมากขึ้น ตอนนั้นคันสปินนิ่งก็ถือกำเนิดขึ้นอย่างสมบูรณ์
       คันเซิร์ฟ แล้วเมื่ออยากที่จะส่งเหยื่อให้ไกลออกไปอีก คันที่มีขนาดยาว รวมถึงด้ามที่มีขนาดยาว ก็เกิดขึ้นเพื่อรองรับความต้องการนี้ คันแบบนี้เรียกกันว่า คันเซิร์ฟ ครับ
       คันเซิร์ฟนี้ มีทั้งแบบที่ใช้กับรอกสปินนิ่ง และรอกเบทคาสติ้งครับ

       คันไอซ์ฟิชชิ่ง แต่ใช่ว่าจะผลิตแต่เพียงคันเบ็ดที่ยาวๆเพื่อให้ส่งเหยื่อออกไปไกลๆเท่านั้น ยังมีคันบางประเภท ที่ถูกสร้างขึ้นมาอย่างสั้นๆ โดยมากจะยาวไม่เกิน 3 ฟุต เพื่อใช้ในการที่ไม่ต้องส่งเหยื่อออกไปไกล แต่ต้องการใช้สำหรับหย่อนเหยื่อลงในแนวดิ่งบนพื้นที่แคบๆอย่างเช่น รูที่ขุดบนผิวทะเลสาบที่แข็งแล้ว
       แน่นอนว่า คันเบ็ดแบบนี้ มีทั้งสำหรับรอกสปินนิ่ง และรอกเบทคาสติ้งเช่นกัน

       คันทรอลลิ่ง คันบางคันถูกสร้างขึ้นมาอย่างแข็งแรง ดูบึกบึน ไกด์ หรือขายึดรอกต้องใหญ่และแข็งแรง เพื่อใช้กับงานหนักๆ เช่นไว้ลากเหยื่อตัวใหญ่ๆสำหรับปลาตัวโตๆในทะเล ซึ่งปลาบางตัวอาจหนักเป็น 100 กิโลกรัม!!!
       คันสแตนด์ อัพ คันแบบนี้ ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ตกบนเรือที่มีคนตกปลาในทะเลพร้อมกันทีเดียวมากๆ คันที่ยาวเก้งก้างอาจเป็นอุปสรรคให้ฅนรอบข้างได้ คันแบบนี้จึงได้ถูกพัฒนาขึ้น
       ลักษณะของคันแบบนี้จะมีความยาวไม่มาก แต่มีด้ามมือจับที่ค่อนข้างยาว เพื่อให้นักตกปลาได้ทดแรงตอนสู้ปลา แต่ในปัจจุบันไม่ค่อยได้รับความนิยมนัก

       คันจิ๊กกิ้ง ต่อมาเมื่อสายเบ็ดได้รับการพัฒนาให้มีความทนแรงดึงสูงขึ้น รอกตกปลามีความแข็งแรงมากขึ้น สามารถนำไปใช้กับปลาใหญ่ๆได้มั่นใจขึ้น คันเบ็ดก็ได้รับการพัฒนาขึ้นตาม
       คันจิ๊กกิ้ง ถือเป็นคันเบ็ดสมัยใหม่ที่ยังมีพัฒนาการอยู่อย่างต่อเนื่อง ทั้งเทคนิคการกลับไกด์ตัวใกล้รอกสำหรับคันประเภทสปินนิ่งเพื่อเลี่ยงปัญหาสายไปพันกับไกด์ เป็นต้น




       ทั้งหมดที่กล่าวมานั้น เป็นเพียงตัวอย่างของประเภทของคันส่วนหนึ่ง แต่เรื่องที่สำคัญที่นักตกปลา
ควรรู้เกี่ยวกับคันเบ็ดก็คือ คุณสมบัติของคันเบ็ดนั้นๆว่ามีคุณสมบัติอย่างไร

       ภาพด้านบนนี้ ภาพแนวตั้งเป็นภาพของสัดส่วนและส่วนประกอบของคันเบ็ด ส่วนภาพแนวนอนจะเป็นภาพของแบบแผ่นผืนที่จะนำมาม้วนเป็นคันเบ็ด
       คุณสมบัติของคันเบ็ด โดยทั่วไปนักตกปลาจะดูคุณสมบัติของคันเบ็ดในด้านต่างๆเช่น น้ำหนักของคันเบ็ด, ความแข็ง-อ่อน, แรงดีด-แรงงัด, ความไวในการส่งผ่านแรงสั่นสะเทือน, แล้วก็ความทนทานของคันเบ็ด ซึ่งคุณสมบัติทั้งหลายเหล่านี้ล้วนขึ้นอยู่กับปัจจัยจาก



1. วัสดุหลักที่ใช้ทำคันเบ็ด
2. อุปกรณ์ประกอบต่างๆที่อยู่บนคันเบ็ด
3. มิติของคันเบ็ด



       จากแค่ 3 ส่วนนี้ ก็เพียงพอต่อการบ่งชี้ว่าคันเบ็ดใดมีคุณสมบัติอย่างไร
       1.วัสดุที่นำมาทำคันเบ็ด ในปัจจุบันวัสดุที่ใช้ทำคันเบ็ดถูกคัดสรรปรุงแต่งสังเคราะห์ขึ้นมาอย่างมากมาย ซึ่งก่อให้เกิดคันเบ็ดที่มีคุณสมบัติที่ตรงต่อความต้องการของนักตกปลาและตลาด จึงขอยกตัวอย่างโดยสังเขปดังต่อไปนี้

       ไม้ไผ่ ไม้ไผ่แม้นักตกปลาในบ้านเราจะไม่ค่อยคุ้นเคยกันนักก็ตาม แต่สำหรับนักตกปลาในต่างประเทศ คันไม้ไผ่ก็ยังถือว่าเป็นคันเบ็ดที่มีนักตกปลาบางกลุ่มที่นิยมความคลาสสิคเล่นกันอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกตกด้วยชุดฟลาย
       คันไม้ไผ่ เป็นคันที่มีความขลังในตัว เป็นดนตรีก็เทียบกับฟังเพลงจากวงซิมโฟนี ออร์เคสตร้า เต็มวง
       แต่ข้อจำกัดอย่างหนึ่งของคันไม้ไผ่ก็คือ ต้องการการดูแลอยู่พอสมควร การจัดเก็บก็ควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่รุนแรงมาก เช่น ไม่ปะทะกับแสงแดดโดยตรง ไม่ชื้นจนเกินไป แล้วต้องไม่วางพิงกับผนังไว้นานๆอย่างเด็ดขาด เพราะคันเบ็ดจะโค้งงอตามแนวที่วางพิง

       ไฟเบอร์ กลาส เมื่อช่วงการพัฒนาการทางเคมีภัณฑ์และความสำเร็จในการพัฒนาวัสดุสังเคราะห์เป็นไปด้วยดี ในช่วงนี้ผู้พัฒนาคันเบ็ดก็ได้รู้จักกับวัสดุใหม่ที่มีคุณสมบัติที่เสถียรกว่าวัสดุธรรมชาติ แรงดีดแรงงัดก็มีความสม่ำเสมอในทุกๆชิ้นในสายการผลิต
       คันไฟเบอร์ กลาส ถือเป็นคันที่มีประสิทธิภาพรอบด้านในยุคสมัยนั้น แต่เมื่อเทียบกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน คันไฟเบอร์ กลาส กลับมีข้อจำกัดตรงที่มีน้ำหนักมาก ความไวในการส่งผ่านแรงสั่นสะเทือนค่อนข้างน้อย แต่ด้วยความเหนียวทนทานของไฟเบอร์ กลาส ก็ทำให้เหมาะกับงานสำหรับตกปลาด้วยเหยื่อปลอมขนาดเล็กๆ เช่น ปลาเทร้า ซึ่งสำหรับผม ผมมักจะใช้คันไฟเบอร์ กลาสสำหรับงานสายเล็ก พวก 3-4 ปอนด์สำหรับตกปลากล็ดด้วยทุ่นชิงหลิว (หรือบางทีก็เอาไปตกปลากะพงบ่อเหมือนกัน)

       กราไฟท์ ยุคต่อมาการพัฒนาการด้านเทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ดีขึ้น สามารถประสานกราไฟท์ให้ได้เป็นเส้นใย และนำมาทอเป็นผืน แล้วนำมาม้วนรอบแกนแล้วประสานด้วยกาวให้อยู่ตัว คันกราไฟท์ก็ถือกำเนิดขึ้น
       ข้อดีของวัสดุกราไฟท์คือเบา และมีแรงดีดดี และเมื่อนักประดิษฐ์ได้ลองถักทอแผ่นกราไฟท์ด้วยโครงสร้างที่ต่างกันก็เกิดคุณสมบัติของคันเบ็ดที่แตกต่างออกไป แต่ข้อจำกัดของกราไฟท์ก็คือ เป็นวัสดุที่เปราะบาง และเป็นสื่อไฟฟ้า เคยมีกรณีฟ้าผ่าลงคันเบ็ดมาแล้วหลายหน และในที่สุดก็ได้มีการผสมข้ามวัสดุกันระหว่างกราไฟท์ กับไฟเบอร์กลาส ก็ทำให้ได้วัสดุทำคันที่สนองต่อการตลาดมากขึ้น

       คาร์บอนไฟเบอร์ และเมื่อสามารถนำธาตุกราไฟท์มาถักทอเป็นแผ่นผืนได้ หลังจากนั้นก็ไ้ด้มีการศึกษานำเอาวัตถุธาตุอื่นๆมาทอประสานกัน คาร์บอน ก็เป็นอีกหนึ่งวัตถุธาตุที่ได้รับการพัฒนามาจนเป็นคันเบ็ด เช่นเดียวกันกับวัตถุธาตุอื่นๆ เช่น โบรอน เป็นต้น
       ข้อดีของ วัตุธาตุพิเศษเหล่านี้คือ นักประดิษฐ์ได้คัดสรรนำธาตุที่มีความแกร่งและหยืดหยุ่นสูงมาประกอบ อีกทั้งยังมีความเบาเป็นพิเศษ แต่ข้อจำกัดของวัสดุใหม่ๆเหล่านี้คือ ราคาที่สูง เพราะวัสดุเหล่านี้ ยังมีการศึกษาพัฒนาคุณสมบัติอยู่เรื่อยๆ เพื่อให้ได้สิ่งที่เหมาะสมกว่า
       2. อุปกรณ์ประกอบต่างๆที่อยู่บนคันเบ็ด นอกจากปัจจัยด้านวัสดุและโครงสร้างการประสานของวัสดุที่นำมาสร้างเป็นคันเบ็ดแล้ว อุปกรณ์ประกอบต่างๆบนคันเบ็ด ก็ล้วนแต่ส่งผลต่อคุณสมบัติของคันเบ็ดทั้งสิ้น เช่น

       รีลซีท หรือที่เรียกว่าตัวยึดขารอก ความสำคัญของรีลซีทนี่แทบจะเป็นตัวกำหนดประเภทของคันนั้นๆ ว่าจะเป็นคันสำหรับ สปินนิ่ง, คาสติ้ง, ทรอลลิ่ง ฯลฯ
       วัสดุที่ใช้ทำรีลซีทก็มีมากมาย ไม่ว่าจะเป็นไม้ก๊อก อลูมิเนียม พลาสติก แต่ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน ดูเหมือนจะเป็นรีลซีทที่ทำจากกราไฟท์ เนื่องจากมีความทนทานและง่ายต่อการดูแลรักษา อีกทั้งยังมีรูปทรงที่หลากหลายไว้สนองต่อความต้องการอีกด้วย

       ไกด์ หรือว่าห่วงนำสายเบ็ด นี่ก็เป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่งที่ส่งผลต่อคุณสมบัติของคันเบ็ดเป็นอย่างมาก นอกจากไกด์จะเป็นตัวบ่งชี้ว่าไกด์แบบใดเมื่อติดตั้งไปบนคันใดแล้ว คันเบ็ดนั้นก็เหมาะสมจะใช้กับอุปกรณ์ประเภทใด ดีไซน์ของไกด์ก็ยังมีส่วนต่อประสิทธิภาพของคันเบ็ดนั้นๆอีกด้วย
       วงแหวนส่วนที่สัมผัสกับสายเบ็ดก็มีความสำคัญเช่นกัน วัสดุที่ใช้ทำวงแหวนต้องเหมาะต่อสายเบ็ดที่จะใช้งานด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้ก็คงต้องยกให้ ซิลิคอน คาร์ไบด์ ว่าเหมาะสมต่อสายเบ็ดเกือบทุกประเภท
       ตำแหน่งของไกด์แต่ละตัว มีความสำคัญต่อการส่งถ่ายพลังของคันอย่างถึงที่สุดด้วย
       เพราะฉะนั้น ประเภทของไกด์ที่เหมาะสม วางบนตำแหน่งที่เหมาะสม แม้แต่คันที่ทำจากวัสดุธรรมดาๆก็กลายเป็นสุดยอดคันเบ็ดได้

การวางไกด์อย่างสไปรอน ว่ากันว่าจะช่วยให้คันแสดงประสิธิภาพสูงสุด
       3. มิติของคันเบ็ด ไม่ว่าจะเป็นความยาว อัตราเรียว ลำหักลำโค่น เหล่านี้ล้วนแต่มีผลต่อคุณสมบัติของคันเบ็ดโดยตรง เช่น สมมติเงื่อนไขว่าตัวแปรอื่นๆอยู่บนค่าเดียวกัน คันที่ยาวก็ย่อมเป็นธรรมดาที่จะส่งเหยื่อไปได้ไกลกว่าคันสั้น แต่คันที่ยาวกว่าก็จะเก้งก้างไม่เหมาะสมต่อพื้นที่ที่มีอุปสรรคกีดขวาง หรือคันที่อวบโตและหนากว่าก็ย่อมจะแข็งกว่าคันที่เพียวเรียวกว่า แต่ในขณะเดียวกันคันที่อวบหนากว่าก็ย่อมจะมีน้ำหนักมากกว่า หรือคันที่สร้างจะวัสดุที่ดีกว่าและผ่านกระบวนการที่ประณีตย่อมมีประสิทธิภาพและคุณสมบัติที่เหมาะสมต่อความต้องการมากกว่า แต่ก็จะมีราคาที่สูงกว่า อย่างนี้เป็นต้น




       นอกจากมิติที่มองเปรียบเทียบได้ด้วยสายเปล่าอย่างที่กล่าวไปแล้ว แอคชั่นของคันก็ถือเป็นอีกหนึ่งมิติที่นักตกปลาจะต้องนำมาประกอบการตัดสินใจในการเลือกใช้คันเบ็ดหนึ่งๆด้วย
       คันที่มีแอคชั่นแข็ง ก็เหมาะต่อการส่งเหยื่อที่มีน้ำหนักมากกว่า แต่ก็จะส่งผ่านการรับรู้แรงสั่นสะเทือนด้อยกว่าคันที่มีแอคชั่นอ่อน

       อนึ่ง แรงดีดแรงงัดของคัน ก็เป็นอีกหนึ่งมิติที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นแต่ก็สำคัญไม่แพ้กันเช่นกัน
       คันที่มีพาวเวอร์สูงๆ ก็เหมาะที่จะใช้กับสายที่มีความทนแรงดึงสูงๆ แต่ก้ไม่เหมาะกับสายที่มีแรงยืดตัวต่ำๆ(ในกรณีนี้แก้ด้วยการใช้ช็อค ลีดเดอร์)
       ส่วนคันที่มีพาวเวอร์ไม่มาก ก็เหมาะกับสายที่มีความทนแรงดึงน้อยๆ เพราะคันจะเป็นตัวซับแรงกระชากได้ดี

       ด้วย 3 องค์ประกอบนี้ ก็น่าจะช่วยให้นักตกปลาตัดสินใจเลือกคันเบ็ดที่เหมาะสมกับงานแต่เหมาะสมต่อตัวเองได้ไม่ยาก







 

Blogger news

Blogroll